CLASSICAL CONTROL SYSTEM
แผงควบคุมที่ต่อใช้งาน
Block Diagram
ออกแบบลายวงจร
ชุดฝึกมอเตอร์กระแสตรง
วงจร Summing amplifier
ใช้สำหรับรวมสัญญาณระหว่างSet point และFeedback และภายในวงจรจะมีสวิตซ์กดติดกดดับ ทำหน้าตัดต่อการจ่ายสัญญาณ Set point ให้กับวงจร
วงจร P Controller ทำหน้าที่อัตราขยายสัดส่วนสัญญานเพื่อให้ Feedback เข้าใกล้ Setpoint
วงจร I Controller ทำหน้าที่อินทิเกรตสัญญาณเพื่อให้ Feedback เข้าใกล้ Setpoint
วงจร D Controller ทำหน้าที่เปลี่ยนแปลงของความผิดพลาดจากกระบวนการนั้นคำนวนหาจากความชัน
ของความผิดพลาดทุกๆเวลา
วงจร summing PID
ทำหน้าที่รวมสัญญาณ ระหว่างวงจร P Controller วงจร I Controller และวงจร D Controller โดยภายในวงจรจะมีสวิตซ์ 3 ตัวทำหน้าที่ซึ่งแต่ละตัวทำหน้าเปิด-ปิด การทำงานของ
วงจรสร้างสัญญาณฟันเลื่อย Sawtooth Wave
ทำหน้าที่สร้างสัญญาณฟันเลื่อยเพื่อที่จะไปเข้าวงจรComparator เปลี่ยนเป็นสัญญาณ PWM
วงจร Offset และวงจรสร้างสัญญาณ PWM
ทำหน้าที่ปรับเลื่อนลงสัญญาณฟันเลื่อย และทำหน้าที่รับสัญญาณที่มาจากวงจร Summing PID และวงจรสร้างสัญญาณฟันเลื่อย Sawtooth Wave เพื่อทำการเปลี่ยนเป็นสัญญาณ Pulse Width Modulation (PWM) โดยสัญญาณที่มาจาก วงจร Summing PID เป็นตัวควบคุม Duty
วงจร Offset และวงจรสร้างสัญญาณ PWM
วงจรหารความถี่ IC 4017
ทำหน้าที่หารสัญญาณความถี่ที่รับมาจาก Encoder เพื่อให้ได้สัญญาณที่ต้องการซึ่งความถี่ที่ได้จาก Encoder คือความถี่ 0-100KHz เพื่อให้ได้ความถี่ที่ต้องการ 0 - 10 KHz
วงจร Frequency-to-Voltage Converter
ทำหน้าที่เปลี่ยนความถี่ของสัญญาณที่รับมาจาก Encode ให้เป็นแรงดันไฟฟ้า คือ 0 – 12 V เพื่อนำมาใช้เป็นสัญญาณ Feedback
วงจรกลับสัญญาณไฟฟ้า ( Inverting Operational Amplifier )
ทำหน้าที่กลับสัญญาณไฟฟ้า จากสัญญาณบวกให้เป็นสัญญาณทางด้านลบ เพื่อนำไปเทียบกับ Set point